กฏหมายเพื่อประชาชน 1

สวัดดีคั

วันนี้ผมนำเอาบทความน่าสนใจ เกี่ยวกับกฏหมายทีเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ของพวกเรามานำเสนอ เพื่อประโยชน์ เมื่อเกิดสถานะการณ์ ในกรณีทีเราได้รับความเสียหายหรื่อเกิดความเดือดร้อน หวังว่าเกร็ดกฏหมายเล็กน้อยทีผมนำมาเสนอจะเป็นประโยชน์ แก่เพื่อนๆทุกคน และเช่นเดิมคับมี ความสงสัย หรื่อไม่เข้าใจ กฏหมายเรื่องใด สามารถ ส่ง เมล์มาสอบถามได้นะคับ ถ้าผมพอมีเวลาว่างจะรีบตอบและหาข้อมูลให้ได้ทราบ และผมก้อต้องขอโทษ เพื่อนสมาชิกบ้างคน ที่ส่งปัญหา มาถาม ผม และผมไม่ได้ตอบ เพาะช่วงทีผ่านมางานผมยุ่งมาก แต่ถ้ามีเวลาผมจะรีบตอบปัญหาให้นะคับ


jirasak.aek@gmail.com i_jirasak@hotmail.com



เข้าเรื่องเลยดีกว่านะคับ

มาถึงปัญหาเรื่องแรกกัน


เหตุฟ้องหย่า

เหตุฟ้องหย่า

ปพพ. มาตรา ๑๕๑๖เหตุฟ้องหย่า มีดังต่อไปนี้
(๑) สามีอุปการะเลี้ยงดู หรือ ยกย่องหญิงอื่น ฉันภริยา หรือ ภริยามีชู้ อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่าได้
(๒) สามีหรือภริยา ประพฤติชั่ว ไม่ว่าความประพฤติชั่วนั้น จะเป็น ความผิดอาญา
หรือไม่ ถ้า เป็นเหตุให้ อีกฝ่ายหนึ่ง
(ก) ได้รับ ความอับอายขายหน้า อย่างร้ายแรง
(ข) ได้รับ ความดูถูกเกลียดชัง เพราะเหตุที่ คงเป็น สามีหรือภริยา ของฝ่ายที่ประพฤติชั่ว อยู่ต่อไป หรือ
(ค) ได้รับ ความเสียหาย หรือ เดือนร้อนเกินควร ในเมื่อเอา สภาพ ฐานะ และ ความเป็นอยู่ร่วมกัน ฉันสามีภริยา มาคำนึงประกอบ
อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๓) สามีหรือภริยา ทำร้าย หรือ ทรมาน ร่างกายหรือจิตใจ หรือ หมิ่นประมาท
หรือ เหยียดหยาม อีกฝ่ายหนึ่ง หรือ บุพการี ของอีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งนี้ ถ้า เป็นการร้ายแรง อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๔) สามีหรือภริยา จงใจละทิ้งร้าง อีกฝ่ายหนึ่งไป เกิน หนึ่งปี อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๔/๑) สามีหรือภริยา ต้องคำพิพากษา ถึงที่สุด ให้จำคุก และ ได้ถูกจำคุกเกิน หนึ่งปี ในความผิด ที่อีกฝ่ายหนึ่ง มิได้มีส่วน ก่อให้เกิด การกระทำความผิด หรือ ยินยอม หรือ รู้เห็นเป็นใจ ในการกระทำความผิดนั้นด้วย และ การเป็นสามีภริยากันต่อไป จะเป็นเหตุให้ อีกฝ่ายหนึ่ง ได้รับความเสียหาย หรือ เดือดร้อนเกินควร อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๔/๒) สามีและภริยา สมัครใจแยกกันอยู่ เพราะเหตุที่ ไม่อาจอยู่ร่วมกัน ฉันสามีภริยา ได้โดยปกติสุข ตลอดมาเกิน สามปี หรือ แยกกันอยู่ ตามคำสั่งของศาล
เป็นเวลาเกิน สามปี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่าได้
(๕) สามีหรือภริยา ถูกศาลสั่งให้เป็น คนสาบสูญ
หรือ ไปจาก ภูมิลำเนา หรือ ถิ่นที่อยู่ เป็นเวลาเกิน สามปี โดยไม่มีใครทราบแน่ว่า เป็นตายร้ายดีอย่างไร อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่าได้
(๖) สามีหรือภริยา ไม่ให้ ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดู
อีกฝ่ายหนึ่ง ตามสมควร หรือ ทำการเป็นปฏิปักษ์ ต่อการที่เป็น สามีหรือภริยากัน อย่างร้ายแรง ทั้งนี้ ถ้า การกระทำนั้น ถึงขนาดที่ อีกฝ่ายหนึ่ง เดือดร้อนเกินควร ในเมื่อเอา สภาพ ฐานะ และ ความเป็นอยู่ร่วมกัน ฉันสามีภริยา มาคำนึงประกอบ อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๗) สามีหรือภริยา วิกลจริต ตลอดมาเกิน สามปี และ ความวิกลจริตนั้น มีลักษณะ ยากจะหายได้ กับทั้ง ความวิกลจริต ถึงขนาดที่จะ ทนอยู่ร่วมกัน ฉันสามีภริยา ต่อไปไม่ได้ อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่าได้
(๘) สามีหรือภริยา ผิดทัณฑ์บน ที่ทำให้ไว้ เป็นหนังสือ
ในเรื่อง ความประพฤติ อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่าได้
(๙) สามีหรือภริยา เป็นโรคติดต่อ อย่างร้ายแรง อันอาจเป็นภัย แก่อีกฝ่ายหนึ่ง และ โรคมีลักษณะ เรื้อรัง ไม่มีทางที่จะหายได้ อีกฝ่ายหนึ่งนั้น ฟ้องหย่าได้
(๑๐) สามีหรือภริยา มีสภาพแห่งกาย ทำให้ สามีหรือภริยานั้น ไม่อาจร่วมประเวณี
ได้ตลอดกาล อีกฝ่ายหนึ่ง ฟ้องหย่า

***

คำพิพากษาฎีกาที่ 1412/2543 เหตุฟ้องหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1516 แยกได้เป็น 2 กรณี คือ

1. เหตุฟ้องหย่าที่มิใช่เกิดความยินยอมพร้อมใจของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย จึงต้องกล่าวอ้างว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งการกระทำเข้าเงื่อนไขอย่างหนึ่งอย่างใด ตามมาตรา 1516

2. เหตุฟ้องหย่าที่เกิดจากความสมัครใจของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย ตามมาตรา 1516 (4/2)

เหตุฟ้องหย่าอันเนื่องจากกรณีที่ 1 นั้น โจทก์ต้องพิสูจน์ให้ศาลเชื่อว่าจำเลยเป็นฝ่ายประพฤติตนไม่สมควร หรือกระทำการอันเข้าเงื่อนไขที่มาตรา 1516 ได้ระบุไว้นอกจากอนุมาตรา (4/2) ส่วนเหตุฟ้องหย่าเกี่ยวกับกรณีที่ 2 ก็ต้องเกิดจากความสมัครใจโดยแท้จริงของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย มิใช่สมัคร

ใจเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นหากพฤติการณ์แห่งคดีมิได้เป็นไปดังที่กล่าวมาทั้งสองกรณี โจทก์ก็ไม่มีสิทธิฟ้องหย่าจำเลย แม้ว่าจะมิได้อยู่ร่วมกันหรือไม่มีเยื่อใยต่อกัน และไม่มีความหวังที่จะคืนดีกันอีกแล้วก็ตาม


การจำนำ

จำนำ
การจำนำ คือการที่ผู้จำนำส่งมอบทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์ ซึ่งตนเป็นเจ้าของให้แก่ผู้รับจำนำเพื่อเป็นการประกันว่าตนจะชำระหนี้ (มาตรา ๗๔๗ และมาตรา ๗๔๘) และในกรณีที่ทรัพย์สินที่นำมาจำนำมีตราสารหนี้ (ตราสารหนี้เป็นเอกสารที่ทำขึ้นตามกฎหมายและจะโอนกันได้ก็ต่อเมื่อโอนด้วยวิธีของตราสารนั้นๆ ตามที่กฎหมายกำหนด เช่น ใบหุ้น หรือตั๋วเงิน เป็นต้น) ผู้จำนำต้องแจ้งให้ผู้รับจำนำทราบ และต้องมอบตราสารหนี้นั้นให้ผู้รับจำนำไว้ด้วย (มาตรา ๗๕๐ มาตรา ๗๕๑ มาตรา ๗๕๒ และมาตรา ๗๕๓)
ในการบังคับจำนำ ผู้รับจำนำต้องแจ้งให้ผู้จำนำทราบล่วงหน้า ถ้าผู้จำนำยังเพิกเฉย ผู้รับจำนำอาจนำทรัพย์สินที่จำนำนั้นออกขายทอดตลาดได้ (มาตรา ๗๖๔ มาตรา ๗๖๕ มาตรา ๗๖๖ มาตรา ๗๖๗ และมาตรา ๗๖๘)
การจำนำสิ้นสุดเมื่อหนี้ที่นำมาจำนำระงับไป เช่น มีการชำระหนี้กันแล้ว หรือได้หักกลบลบหนี้กันแล้ว เป็นต้น การที่ผู้รับจำนำยอมให้ทรัพย์สินที่จำนำกลับไปสู่การครอบครองของผู้จำนำย่อมทำให้การจำนำสิ้นสุดลงเช่นกัน (มาตรา ๗๖๙)


การจำนอง


จำนอง
การจำนอง คือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า "ผู้จำนอง" เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า "ผู้รับจำนอง" เป็นประกันการชำระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (มาตรา ๗๐๒)
ทรัพย์สินที่จะจำนองได้ คือ
๑. อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ที่ดิน ทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร ทรัพย์อันประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน และทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย
๒. สังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ที่จะจำนองได้นั้นต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วตามกฎหมายและเฉพาะสังหาริมทรัพย์ดังต่อไปนี้เท่านั้น คือ (๑) เรือกำปั่นหรือเรือมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์มีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป (๒) แพ (๓) สัตว์พาหนะ(๔) สังหาริมทรัพย์อื่นๆ ซึ่งกฎหมายบัญญัติไว้ให้จดทะเบียนเฉพาะการ (มาตรา ๗๐๓)
การจำนองจะต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา ๗๑๔)
ถ้าการจำนองไม่ได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่การจำนองย่อมตกเป็นโมฆะ (มาตรา ๑๕๒)
การบังคับจำนองมี ๒ วิธี คือ
๑. การฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้ยึดทรัพย์สินที่จำนองออกขายทอดตลาด (มาตรา ๗๒๘)
๒. การฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้เอาทรัพย์สินที่จำนองหลุดเป็นสิทธิของผู้รับจำนอง (มาตรา ๗๒๙)


การสมรส


สมรส
การสมรส คือ การที่ชายและหญิงยินยอมเป็นสามีภริยากันและต้องแสดงความยินยอมนั้นให้ปรากฏโดยเปิดเผยและจดทะเบียนต่อหน้านายทะเบียน (มาตรา ๑๔๕๗ และมาตรา ๑๔๕๘)
- การสมรสในต่างประเทศ ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นคนไทยให้จดทะเบียนตามกฎหมายแห่งประเทศนั้นๆ หรือกฎหมายไทยก็ได้ (มาตรา ๑๔๕๙)
- การสมรสกรณีพิเศษที่ไม่อาจจดทะเบียนต่อหน้านายทะเบียนได้ เพราะชายหรือหญิงตกอยู่ในอันตรายใกล้ความตาย สามารถแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะให้จดแจ้งการแสดงเจตนาไว้ แล้วนำหลักฐานการจดแจ้งนั้น ไปยื่นต่อนายทะเบียนภายหลังได้ (มาตรา ๑๔๖๐)
เงื่อนไขและข้อยกเว้นของการสมรส มีดังนี้
๑. การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปีบริบูรณ์แล้ว เว้นแต่มีเหตุสมควรศาลอาจอนุญาตให้สมรสก่อนได้ (มาตรา ๑๔๔๘)
๒. ชายและหญิงซึ่งเป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือลงมา เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมแต่บิดาหรือมารดา สมรสกันไม่ได้ไม่ว่าเป็นญาติโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ (มาตรา ๑๔๕๐)
๓. ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมสมรสกันไม่ได้ (มาตรา ๑๔๕๑) ถ้าสมรสกันการรับบุตรบุญธรรมเป็นอันยกเลิก (มาตรา ๑๕๙๘/๓๒)
๔. หญิงที่สามีตายหรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วยประการอื่น จะสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อการสิ้นสุดแห่งการสมรสนั้นผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า ๓๑๐ วัน เว้นแต่ (๑) คลอดบุตรแล้วในระหว่างนั้น (๒) สมรสกับคู่สมรสเดิม (๓) มีใบรับรองแพทย์ตามกฎหมายว่ามิได้มีครรภ์ หรือ (๔) มีคำสั่งศาลให้สมรสได้
ผลของการสมรส มีดังนี้
๑. การสมรสมีผลสมบูรณ์ ต่อเมื่อชายและหญิงจดทะเบียนต่อหน้านายทะเบียนเรียบร้อยแล้ว (มาตรา ๑๔๕๗ มาตรา ๑๔๕๘ มาตรา ๑๔๕๙ และมาตรา ๑๔๖๐)
๒. ผู้เยาว์ทำการสมรสได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากผู้มีอำนาจให้ความยินยอม (มาตรา ๑๔๕๔ มาตรา ๑๔๕๕ และมาตรา ๑๔๕๖)
๓. การสมรสเป็นโมฆะเมื่อมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติของกฎหมาย (มาตรา ๑๔๙๔ มาตรา ๑๔๙๕ มาตรา ๑๔๙๖ มาตรา ๑๔๙๗ มาตรา ๑๔๙๘ มาตรา ๑๔๙๙ และมาตรา ๑๕๐๐)
๔. การสมรสเป็นโมฆียะเมื่อมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติของกฎหมาย (มาตรา ๑๕๐๕ มาตรา ๑๕๐๖ มาตรา ๑๕๐๗ มาตรา ๑๕๐๘ มาตรา ๑๕๐๙ มาตรา ๑๕๑๐ มาตรา ๑๕๑๑ มาตรา ๑๕๑๒ และมาตรา ๑๕๑๓)
๕. การสมรสสิ้นสุดลงด้วยความตาย การหย่าหรือศาลพิพากษาให้เพิกถอน (มาตรา ๑๕๐๑ มาตรา ๑๕๐๒ และมาตรา ๑๕๐๓)


หย่า


หย่า

การหย่าไม่ว่าด้วยความยินยอมของคู่สมรสทั้งสองฝ่ายหรือศาลพิพากษาให้หย่าก็ตาม ต่างทำให้การสมรสสิ้นสุดลง ไม่มีความสัมพันธ์ฉันท์สามีภริยากันต่อไปอีก ทรัพย์สินที่มีอยู่ต้องจัดการแบ่งกัน มีหนี้ต้องรับผิดร่วมกัน มีบุตรต้องจัดการเรื่องอำนาจปกครองและค่าอุปการะเลี้ยงดู
หย่าโดยความยินยอม คู่สมรสต้องจดทะเบียนหย่าต่อนายทะเบียน
หย่าโดยคำพิพากษาของศาล กฎหมายกำหนดเหตุฟ้องหย่าไว้หลายกรณี (มาตรา ๑๕๑๖) กล่าวคือ เมื่อคู่สมรสฝ่ายหนึ่งนอกใจ ประพฤติไม่ดีจนอีกฝ่ายหนึ่งได้รับความอับอาย ถูกเกลียดชังหรือเดือดร้อนเสียหาย ทำร้ายร่างกายหรือจิตใจอีกฝ่ายหนึ่ง จงใจทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไป สมัครใจแยกกันอยู่เพราะอยู่ด้วยกันไม่ได้อย่างปกติสุข ถูกจำคุกเกิน ๑ ปี สาบสูญ ไม่อุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่ง วิกลจริต ผิดทัณฑ์บน เป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรง และเสียสมรรถภาพทางเพศ กรณีเหล่านี้คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยกขึ้นเป็นเหตุฟ้องต่อศาล(คดีฟ้องหย่าถือเป็นคดีครอบครัว จึงต้องฟ้องต่อศาลเยาวชนและครอบครัว) ให้ศาลพิพากษาให้หย่าขาดจากกันได้
เมื่อหย่ากันแล้ว ต้องจัดการเรื่องทรัพย์สินและบุตร หากตกลงกันได้ก็เป็นไปตามนั้น แต่ถ้าตกลงกันไม่ได้ กฎหมายกำหนดให้แบ่งสินสมรสกันคนละครึ่ง สำหรับบุตรศาลจะเป็นผู้ชี้ขาดว่าสมควรให้ฝ่ายใดมีอำนาจปกครอง ฝ่ายใดจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร




กฏหมาย, กฏหมายน่ารู้,กฏหมายทั่วไป,กฏหมายไทย,กฏหมายชาวบ้าน,กฏหมายของไทย,เรียนกฏหมาย,กฏหมายราม,กฏหมายธรรมศาสตร์,ศึกษากฏหมาย,ความรู้กฏหมาย,กฏหมายออนไลน์,ออนไลน์กฏหมาย,นักศึกษากฏหมาย,อยากรู้กฏหมาย,อยากเรียนกฏหมาย,ความรู้เรื่องกฏหมาย,ความหมายของกฏหมาย,บ่อเกิดกฏหมาย,รอบรู้กฏหมาย,กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา,แพ่งกฏหมาย,อาญากฏหมาย,น่ารู้กฏหมาย,กฏหายธุรกิจ,กฏหมายชุมชน,กฏหมายนักกฏหมาย,กฏหมายต่างประเทศ,กฏหมายในประเทศ,กฏหมายภายใน,กฏหมายภายนอก,นักเรียนกฏหมาย,ร้องทุกข์,การฟ้อง,ถอนฟ้อง,ยืนฟ้อง,ฟ้องแย้ง,ยกฟ้อง,ตามฟ้อง,

กฏหมาย, กฏหมายน่ารู้,กฏหมายทั่วไป,กฏหมายไทย,กฏหมายชาวบ้าน,กฏหมายของไทย,เรียนกฏหมาย,กฏหมายราม,กฏหมายธรรมศาสตร์,ศึกษากฏหมาย,ความรู้กฏหมาย,กฏหมายออนไลน์,ออนไลน์กฏหมาย,นักศึกษากฏหมาย,อยากรู้กฏหมาย,อยากเรียนกฏหมาย,ความรู้เรื่องกฏหมาย,ความหมายของกฏหมาย,บ่อเกิดกฏหมาย,รอบรู้กฏหมาย,กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา,แพ่งกฏหมาย,อาญากฏหมาย,น่ารู้กฏหมาย,กฏหายธุรกิจ,กฏหมายชุมชน,กฏหมายนักกฏหมาย,กฏหมายต่างประเทศ,กฏหมายในประเทศ,กฏหมายภายใน,กฏหมายภายนอก,นักเรียนกฏหมาย,ร้องทุกข์,การฟ้อง,ถอนฟ้อง,ยืนฟ้อง,ฟ้องแย้ง,ยกฟ้อง,ตามฟ้อง,

กฏหมาย, กฏหมายน่ารู้,กฏหมายทั่วไป,กฏหมายไทย,กฏหมายชาวบ้าน,กฏหมายของไทย,เรียนกฏหมาย,กฏหมายราม,กฏหมายธรรมศาสตร์,ศึกษากฏหมาย,ความรู้กฏหมาย,กฏหมายออนไลน์,ออนไลน์กฏหมาย,นักศึกษากฏหมาย,อยากรู้กฏหมาย,อยากเรียนกฏหมาย,ความรู้เรื่องกฏหมาย,ความหมายของกฏหมาย,บ่อเกิดกฏหมาย,รอบรู้กฏหมาย,กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา,แพ่งกฏหมาย,อาญากฏหมาย,น่ารู้กฏหมาย,กฏหายธุรกิจ,กฏหมายชุมชน,กฏหมายนักกฏหมาย,กฏหมายต่างประเทศ,กฏหมายในประเทศ,กฏหมายภายใน,กฏหมายภายนอก,นักเรียนกฏหมาย,ร้องทุกข์,การฟ้อง,ถอนฟ้อง,ยืนฟ้อง,ฟ้องแย้ง,ยกฟ้อง,ตามฟ้อง,

กฏหมาย, กฏหมายน่ารู้,กฏหมายทั่วไป,กฏหมายไทย,กฏหมายชาวบ้าน,กฏหมายของไทย,เรียนกฏหมาย,กฏหมายราม,กฏหมายธรรมศาสตร์,ศึกษากฏหมาย,ความรู้กฏหมาย,กฏหมายออนไลน์,ออนไลน์กฏหมาย,นักศึกษากฏหมาย,อยากรู้กฏหมาย,อยากเรียนกฏหมาย,ความรู้เรื่องกฏหมาย,ความหมายของกฏหมาย,บ่อเกิดกฏหมาย,รอบรู้กฏหมาย,กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา,แพ่งกฏหมาย,อาญากฏหมาย,น่ารู้กฏหมาย,กฏหายธุรกิจ,กฏหมายชุมชน,กฏหมายนักกฏหมาย,กฏหมายต่างประเทศ,กฏหมายในประเทศ,กฏหมายภายใน,กฏหมายภายนอก,นักเรียนกฏหมาย,ร้องทุกข์,การฟ้อง,ถอนฟ้อง,ยืนฟ้อง,ฟ้องแย้ง,ยกฟ้อง,ตามฟ้อง,

กฏหมาย, กฏหมายน่ารู้,กฏหมายทั่วไป,กฏหมายไทย,กฏหม

Tpbs,ทีพีบีเอส,thai pbs, ไทยพีบีเอส,ช่องtpbs,ช่องไทยพีบีเอส,รายการ ทีพีบีเอส,รายการ tpbs,ทีวีสาธารณะ,โครงสร้างทีพีบีเอส,โครงสร้างtpbs,titv,ช่องใหม่,ทีวีใหม่,tbps,tpsb,ทีบีพีเอส,ทีพีเอสบี,รายการดี,สารคดี,สาระความรู้,เทพชัย หย่อง,นาย เทพชัย หย่อง,ผู้อำนวยการทีพีบีเอส,หย่อง เทพชัย,เทพชัย,หย่อง,เทพชัยหย่อง,

Tpbs,ทีพีบีเอส,thai pbs, ไทยพีบีเอส,ช่องtpbs,ช่องไทยพีบีเอส,รายการ ทีพีบีเอส,รายการ tpbs,ทีวีสาธารณะ,โครงสร้างทีพีบีเอส,โครงสร้างtpbs,titv,ช่องใหม่,ทีวีใหม่,tbps,tpsb,ทีบีพีเอส,ทีพีเอสบี,รายการดี,สารคดี,สาระความรู้,เทพชัย หย่อง,นาย เทพชัย หย่อง,ผู้อำนวยการทีพีบีเอส,หย่อง เทพชัย,เทพชัย,หย่อง,เทพชัยหย่อง,

Tpbs,ทีพีบีเอส,thai pbs, ไทยพีบีเอส,ช่องtpbs,ช่องไทยพีบีเอส,รายการ ทีพีบีเอส,รายการ tpbs,ทีวีสาธารณะ,โครงสร้างทีพีบีเอส,โครงสร้างtpbs,titv,ช่องใหม่,ทีวีใหม่,tbps,tpsb,ทีบีพีเอส,ทีพีเอสบี,รายการดี,สารคดี,สาระความรู้,เทพชัย หย่อง,นาย เทพชัย หย่อง,ผู้อำนวยการทีพีบีเอส,หย่อง เทพชัย,เทพชัย,หย่อง,เทพชัยหย่อง,

Tpbs,ทีพีบีเอส,thai pbs, ไทยพีบีเอส,ช่องtpbs,ช่องไทยพีบีเอส,รายการ ทีพีบีเอส,รายการ tpbs,ทีวีสาธารณะ,โครงสร้างทีพีบีเอส,โครงสร้างtpbs,titv,ช่องใหม่,ทีวีใหม่,tbps,tpsb,ทีบีพีเอส,ทีพีเอสบี,รายการดี,สารคดี,สาระความรู้,เทพชัย หย่อง,นาย เทพชัย หย่อง,ผู้อำนวยการทีพีบีเอส,หย่อง เทพชัย,เทพชัย,หย่อง,เทพชัยหย่อง,

Tpbs,ทีพีบีเอส,thai pbs, ไทยพีบีเอส,ช่องtpbs,ช่องไทยพีบีเอส,รายการ ทีพีบีเอส,รายการ tpbs,ทีวีสาธารณะ,โครงสร้างทีพีบีเอส,โครงสร้างtpbs,titv,ช่องใหม่,ทีวีใหม่,tbps,tpsb,ทีบีพีเอส,ทีพีเอสบี,รายการดี,สารคดี,สาระความรู้,เทพชัย หย่อง,นาย เทพชัย หย่อง,ผู้อำนวยการทีพีบีเอส,หย่อง เทพชัย,เทพชัย,หย่อง,เทพชัยหย่อง,

ยชาวบ้าน,กฏหมายของไทย,เรียนกฏหมาย,กฏหมายราม,กฏหมายธรรมศาสตร์,ศึกษากฏหมาย,ความรู้กฏหมาย,กฏหมายออนไลน์,ออนไลน์กฏหมาย,นักศึกษากฏหมาย,อยากรู้กฏหมาย,อยากเรียนกฏหมาย,ความรู้เรื่องกฏหมาย,ความหมายของกฏหมาย,บ่อเกิดกฏหมาย,รอบรู้กฏหมาย,กฏหมายแพ่ง,กฏหมายอาญา,แพ่งกฏหมาย,อาญากฏหมาย,น่ารู้กฏหมาย,กฏหายธุรกิจ,กฏหมายชุมชน,กฏหมายนักกฏหมาย,กฏหมายต่างประเทศ,กฏหมายในประเทศ,กฏหมายภายใน,กฏหมายภายนอก,นักเรียนกฏหมาย,ร้องทุกข์,การฟ้อง,ถอนฟ้อง,ยืนฟ้อง,ฟ้องแย้ง,ยกฟ้อง,ตามฟ้อง,

ไม่มีความคิดเห็น:

ค้นหาโดย google